การปรากฏ สมบัติ และปฏิกิริยาเคมี ของ อูนอูนเอนเนียม

ซึ่งเป็นผลผลิตจากการปะทะกันระหว่าง อะตอมของ ไอน์สไตเนียม-254 กับ ไอออนของ แคลเซียม-48 กระทำที่ เบอร์คีเลย์,รัฐแคลิฟอร์เนีย ดังสมการ

99 254 E s + 20 48 C a → 119 302 U u e ∗ {\displaystyle \,_{99}^{254}\mathrm {Es} +\,_{20}^{48}\mathrm {Ca} \,\to \,{}_{119}^{302}\mathrm {Uue} ^{*}}

ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2555 ได้มีการค้นพบไอโซโทปของอูนอูนเอนเนียมโดยการปะทะกันระหว่างเบอร์คีเลียมและไทเทเนียมดังสมการ

97 249 B k + 22 50 T i → 119 296 U u e + 3 0 1 n {\displaystyle \,_{97}^{249}\mathrm {Bk} +\,_{22}^{50}\mathrm {Ti} \to \,_{119}^{296}\mathrm {Uue} \,+3\,_{0}^{1}\mathrm {n} } 97 249 B k + 22 50 T i → 119 295 U u e + 4 0 1 n {\displaystyle \,_{97}^{249}\mathrm {Bk} +\,_{22}^{50}\mathrm {Ti} \to \,_{119}^{295}\mathrm {Uue} \,+4\,_{0}^{1}\mathrm {n} }

อูนอูนเอนเนียมคาดว่าจะมีสมบัติคล้ายกับแฟรนเซียม แต่อูนอูนเอนเนียมมีสถานะต่างจากทุกธาตุในหมู่โลหะแอลคาไล คือ ธาตุลิเทียม, โซเดียม, โพแทสเซียม, รูบิเดียม, ซีเซียม และ แฟรนเซียม เป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง ส่วนอูนอูนเอนเนียม เป็นของเหลวหรือของแข็งเหลวที่อุณหภูมิห้อง